[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by
MAXSITE 2.5.3
ยินดีต้อนรับคุณ
บุคคลทั่วไป
Select Language
English
Arabic
Bulgarian
Chinese (Simplified)
Chinese (Traditional)
Croatian
Czech
Danish
Dutch
Finnish
French
German
Greek
Hindi
Italian
Japanese
Korean
Norwegian
Polish
Portuguese
Romanian
Russian
Spanish
Swedish
Catalan
Filipino
Hebrew
Indonesian
Latvian
Lithuanian
Serbian
Slovak
Slovenian
Ukrainian
Vietnamese
Albanian
Estonian
Galician
Hungarian
Maltese
Thai
Turkish
ค้นหา
เมนูหลัก
หน้าแรก
ฝ่ายวิชาการ
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
หลักสูตรที่เปิดสอน
ทำเนียบบุคลากร
ประมวลภาพกิจกรรม
สมุดเยี่ยม
ปฏิทินกิจกรรม
ข่าวสาร/ประชาสัมพันธ์
สาระความรู้
โครงการ/งาน
กระดานข่าว
ดาวน์โหลด
ผลงานทางวิชาการ
contact
blog
video
Administrator
ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ]
|
[ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด
5
คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์
0
คน
ฝากข้อความ
ชื่อ :
ข้อความ
(ตัวแสดงอารมณ์)
poll
คุณคิดว่าเวปนี้เป็นอย่างไร
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
แย่
แย่มาก
ดูผลการ vote
เว็บบอร์ด
>>
ห้องนั่งเล่น
>>
เอสโตรเจน
VIEW : 485
โดย
ดร. ศิรพงศ์ รักต์เธียรธรรม
UID :
ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว
:
31
ตอบแล้ว
:
เพศ :
ระดับ : 4
Exp : 50%
เข้าระบบ :
ออฟไลน์ :
IP
:
171.96.191.
xxx
เมื่อ :
จันทร์ ที่ 14 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2560 เวลา 01:05:29
เอสโตรเจน
หน้าที่ของเอสโตรเจนอีกอย่างหนึ่งก็คือ ทำให้ผนังมดลูกหนาตัวขึ้น และ รับการเปลี่ยนแปลง เตรียมพร้อมที่จะรับการฝังตัวของไข่ ซึ่งเป็นหน้าที่ของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนที่สร้างขึ้นจากรังไข่หลังไข่ตก เมื่อได้รับการ ปฏิสนธิจากสเปิร์มของเพศชาย ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม ระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนจะลดลง ทำ ให้เยื่อบุโพรงมดลูกที่ถูกสร้างไว้หลุด ลอกออกมาเป็นเลือดประจำเดือนทุกๆ เดือน เป็นวงจรไปเรื่อยๆ ในชีวิตผู้หญิง ๑ คน จะมีประจำเดือน เกิดขึ้นรวมแล้วประมาณ ๔๐๐ รอบ ซึ่งหากกลไกดังกล่าวทำงานผิดพลาด หรือระดับของฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนไม่อยู่ในภาวะสมดุล ก็จะมีอาการผิดปกติเกี่ยวกับการมีประจำเดือนเกิดขึ้น
นอกจากหน้าที่ดังกล่าวแล้ว ฮอร์โมนเพศหญิงยังทำให้ร่างกาย และเนื้อเยื่อต่างๆ มีความแข็งแรง แสดงให้เห็นถึงความเป็นผู้หญิงที่สมบูรณ์ เช่น มีการขยายของหน้าอก มากขึ้น มีการสร้างมูกในช่องคลอดมากขึ้น เพราะฉะนั้นเมื่อยังมีฮอร์โมน ผู้หญิงก็จะดูเต่งตึง สดใส มีน้ำมี นวล เซลล์ต่างๆ จะเสื่อมสภาพช้าลง กระดูกก็ยังคงสภาพที่ค่อนข้างแข็งแรง ปัจจุบันเด็กผู้หญิงทั่วโลกมีแนวโน้มจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เร็วขึ้น (รวมทั้งเด็กไทย) นั่นคือ ประมาณ ๙ ปีขึ้นไป ทั้งนี้อาจมีเหตุปัจจัยความเจริญในด้านต่างๆ เช่น ภาวะเศรษฐกิจ ความเป็นอยู่ และสภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น ขณะเดียวกันผู้หญิงก็จะเข้าสู่วัยหมดประจำเดือนช้าลง
ภาวะหมดประจำเดือน
การหมดประจำเดือนเกิดขึ้นได้ ๒ กรณี คือ หนึ่ง หมดไปเองตามธรรมชาติ สอง เกิดจากการผ่าตัด เอารังไข่ออกเพื่อรักษาโรค ซึ่งจะทำ ให้เกิดอาการผิดปกติเร็วกว่าผู้หญิงที่หมดประจำเดือนตามธรรมชาติ อาการที่บ่งบอกว่าได้ย่างเข้าสู่ วัยทองแล้ว ในผู้หญิงอาจจะแสดงอาการล่วงหน้าประมาณ ๓-๔ ปี (ก่อนที่รังไข่จะหยุดทำงาน หยุดผลิต ฮอร์โมน) นั่นคือ ประจำเดือนจะเริ่ม มาผิดปกติ เช่น จะมาเดือนละ ๒ ถึง ๓ ครั้ง หรือประจำเดือนมาบ้าง ไม่มาบ้าง ซึ่งเป็นสัญญาณเตือนให้รู้ว่ารังไข่ทำงานน้อยลง ถ้าประจำเดือน ไม่มา ๖ เดือน บางครั้งอาจจะกลับ มาใหม่ได้ แต่ถ้าประจำเดือนหยุดไปนานถึง ๑ ปี ก็แสดงว่ารังไข่หยุด ทำงานแล้ว ซึ่งโดยเฉลี่ยผู้หญิงไทยจะหมดประจำเดือน เมื่ออายุประมาณ ๔๘-๕๐ ปี
เมื่อเข้าสู่วัยทอง
เมื่อเข้าสู่วัยทองการผลิตฮอร์โมนทั้งสองจะมีปริมาณลดลง ในช่วงแรกที่เรียกว่า premenopusal ระดับฮอร์โมนยังไม่หยุดผลิตแต่อาจจะผลิตมากไป หรือน้อยเกินไป หรือมาไม่สม่ำเสมอ ทำให้เราเกิดอาการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิตใจ แต่เมื่อเข้าสู่วัยทองการผลิตฮอร์โมนจะลดลงทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่อวัยวะดังนี้
· ระบบสืบพันธ์ซึ่งรวมอวัยวะเพศ ทางเดินปัสสาวะ เนื้อเยื่อจะฝ่อทำให้เกิดอาการช่องคลอดแห้ง คันช่องคลอด เจ็บเวลามีเพศสัมพันธ์ ปัสสาวะบ่อย กลั้นปัสสาวะไม่ได้
· ผิวหนัง เลือดที่ไปเลี้ยงผิวหนังมีปริมาณมากขึ้นทำให้เกิดอาการร้อนตามตัว
· สมอง การที่ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลงทำให้เกิดอาการซึมเสร้า อารมณ์แปรปรวน รู้สึกไม่สบายตามตัว
· กระดูก การขาดฮอร์โมนเอสโตรเจนทำให้เนื้อกระดูกโปร่งบาง กระดูกหักง่าย ผู้ป่วยจะมีน้ำหนักน้อยลง เตี้ยเนื่องจากหลังค่อม ปวดกระดูกส่วนที่โปร่งบาง
· หัวใจ การฮอร์โมนจะทำให้เกิดโรคหัวใจเพิ่มขึ้น
การให้ฮอร์โมนทดแทนในผู้ป่วยวัยทอง
ก่อนการให้ฮอรโมนทดแทนจะต้องประเมินความรุนแรงของโรคที่พบร่วมกับวัยทองเช่นอาการร้อนตามตัว กระดูกโปร่งบางและต้องมาเปรียบเทียบกับความเสี่ยงที่จะเกิดโรคจากการให้ฮอร์โมน เช่นมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด และจะต้องพิจารณาว่ามีทางเลือกอื่นอีก หรือไม่ในการรักษาภาวะเหล่านั้นผู้ป่วยบางคนเมื่อเริ่มเข้าสู่วัยทองแพทย์จะให้ยาคุมกำเนิดรับประทานซึ่งมีผลดีหลายประการ เช่นทำให้ประจำเดือนมาสม่ำเสมอ ลดอาการร้อนตามตัว ลดอัตราการเกิดมะเร็งรังไข่ ข้อเสียคือไม่ทราบว่าหมดประจำเดือนหรือยัง ถ้าสงสัยก็ให้หยุดยาคุมกำเนิด 4-5 เดือนแล้วดูว่าประจำเดือนมาหรือไม่ เมื่อเข้าสู่วัยทองจริงแพทย์จะพิจารณาให้ฮอร์โมนที่มีส่วนประกอบของ estrogen และ progesteroneผลดีของการให้คือ ลดอาการ ป้องกันกระดูกพรุน และป้องกันโรคหัวใจ แต่ต้องระวังโรคแทรกซ้อนคือ โรคตับอักเสบ ไขมัน triglyceride สูง โรคมะเร็งเต้านม
เอสโตรเจน
HonestDocs
[url]https://www.honestdocs.co/what-is-estrogen[/url]
[url]https://www.honestdocs.co[/url]
[
อ้างอิง
]
Re หัวข้อ :
รูปประกอบ :
จำกัดขนาด 100 kB
รายละเอียด :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ชื่อของท่าน :
แผนกวิชาพืชศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ
90 ถ.กสิกรรม ต.หนองครก อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ 33000
@2014-2015 under
GNU General Public License
Edit&Applied by
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ
Power by :
FreeBSD.org