[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by
MAXSITE 2.5.3
ยินดีต้อนรับคุณ
บุคคลทั่วไป
Select Language
English
Arabic
Bulgarian
Chinese (Simplified)
Chinese (Traditional)
Croatian
Czech
Danish
Dutch
Finnish
French
German
Greek
Hindi
Italian
Japanese
Korean
Norwegian
Polish
Portuguese
Romanian
Russian
Spanish
Swedish
Catalan
Filipino
Hebrew
Indonesian
Latvian
Lithuanian
Serbian
Slovak
Slovenian
Ukrainian
Vietnamese
Albanian
Estonian
Galician
Hungarian
Maltese
Thai
Turkish
ค้นหา
เมนูหลัก
หน้าแรก
ฝ่ายวิชาการ
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
หลักสูตรที่เปิดสอน
ทำเนียบบุคลากร
ประมวลภาพกิจกรรม
สมุดเยี่ยม
ปฏิทินกิจกรรม
ข่าวสาร/ประชาสัมพันธ์
สาระความรู้
โครงการ/งาน
กระดานข่าว
ดาวน์โหลด
ผลงานทางวิชาการ
contact
blog
video
Administrator
ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ]
|
[ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด
5
คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์
0
คน
ฝากข้อความ
ชื่อ :
ข้อความ
(ตัวแสดงอารมณ์)
poll
คุณคิดว่าเวปนี้เป็นอย่างไร
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
แย่
แย่มาก
ดูผลการ vote
เว็บบอร์ด
>>
ห้องนั่งเล่น
>>
ถ่ายเป็นเลือด
VIEW : 482
โดย
ดร. ภัทร
UID :
ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว
:
27
ตอบแล้ว
:
เพศ :
ระดับ : 4
Exp : 21%
เข้าระบบ :
ออฟไลน์ :
IP
:
43.249.60.
xxx
เมื่อ :
ศุกร์์ ที่ 27 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2560 เวลา 14:53:41
ถ่ายเป็นเลือด
ปวดประจำเดือน, ปวดท้องประจำเดือน, เจ็บท้องประจำเดือน หรือ ปวดท้องเมนส์ (Dysmenorrhea) คือ อาการปวดท้องน้อยหรืออุ้งเชิงกรานในขณะที่มีประจำเดือน ซึ่งมักจะเกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอตามรอบของการมีประจำเดือน (โดยปกติจะห่างกันทุก 28 วัน แต่บางคนก็มาเร็วหรือช้ากว่านี้) การปวดประจำเดือนนี้ส่วนใหญ่พบได้ในผู้หญิงวัยมีประจำเดือน ส่วนใหญ่จะมีอาการปวดไม่มากและยังสามารถทำงานได้ตามปกติ แต่มีส่วนน้อยที่อาจปวดรุนแรงจนต้องพักงาน โดยอาการปวดประจำเดือนนั้นแบ่งออกได้เป็น ชนิดปฐมภูมิ (ไม่ทราบสาเหตุ) ซึ่งพบได้เป็นส่วนมาก กับชนิดทุติยภูมิ (มีสาเหตุ) ซึ่งพบได้เป็นส่วนน้อย
ในช่วงหนึ่งของชีวิตผู้หญิงที่มีประจำเดือน มีผู้หญิงจำนวนน้อยมากที่ไม่มีอาการปวดประจำเดือนเลยซึ่งนับว่าเป็นโชคดีมาก เพราะผู้หญิงส่วนใหญ่โดยเฉพาะวัยรุ่นจำนวนมากถึง 90% จะมีอาการปวดประจำเดือนมากบ้างน้อยบ้างสลับกันไป และมีผู้หญิงอีกประมาณ 5-10% ที่จะมีอาการปวดประจำเดือนมากจนทำให้ต้องพักงานหรือขาดเรียนอยู่เสมอในช่วงที่มีประจำเดือน ทำให้เสียโอกาสในการทำงานและการเรียนรู้ และยังอาจมีผลกระทบต่อจิตใจหรือความสัมพันธ์กับคนในครอบครัวซึ่งประเมินเป็นมูลค่าทางการเงินไม่ได้อีกด้วย
จากการศึกษาพบว่า อายุเฉลี่ยของการมีประจำเดือนครั้งแรกของเด็กผู้หญิงไทยจะอยู่ที่ประมาณ 12 ปี 7 เดือน เด็กผู้หญิงทางภาคเหนือจะมีอายุเฉลี่ยของการมีประจำเดือนเร็วกว่าภาคอื่น ๆ ส่วนเด็กทางภาคใต้จะมีอายุเฉลี่ยของการมีประจำเดือนช้ากว่าภาคอื่น ๆ โดยช่วง 1-2 ปีแรกที่เริ่มมีประจำเดือน จะมาแบบไม่สม่ำเสมอ เนื่องจากการทำงานของรังไข่ยังไม่ค่อยสมบูรณ์ จึงทำให้ไข่ตกไม่สม่ำเสมอ
สาเหตุการปวดท้องประจําเดือน
เมื่อมีอาการปวดประจำเดือน ผู้หญิงส่วนใหญ่มักคิดว่าเป็นอาการปกติของการมีประจำเดือน ซึ่งส่วนใหญ่ก็เป็นความจริงและก็มีที่ไม่จริงบ้าง โดยทั่วไปอาการปวดประจำเดือนจะเกิดจากมดลูกหดรัดตัวทำให้เกิดอาการปวดบริเวณท้องน้อย แต่หากมีอาการปวดมากจนมีผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันหรือทำให้ต้องพักงาน แบบนี้ก็ควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุและรับการรักษาอย่างถูกต้องต่อไป เพราะสาเหตุที่ทำให้มีอาการปวดท้องประจำเดือนนั้นมีหลายสาเหตุ ซึ่งการรักษาบางครั้งอาจต้องถึงขั้นผ่าตัดเลยทีเดียว
สาเหตุของการปวดประจำเดือนจะแบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ
ปวดประจำเดือนชนิดปฐมภูมิ (Primary dysmenorrhea) เป็นการปวดประจำเดือนที่แพทย์ตรวจไม่พบพยาธิสภาพในอุ้งเชิงกรานหรือท้องน้อยที่ชัดเจน โดยจะไม่มีความผิดปกติของมดลูกและรังไข่แต่อย่างใด ในปัจจุบันเชื่อว่ามีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในระหว่างการมีประจำเดือน และมาจากการมีสารพรอสตาแกลนดิน (Prostaglandins) หลั่งออกมาจากเยื่อบุโพรงมดลูกมากผิดปกติ และสารชนิดนี้จะดูดซึมผ่านกระแสเลือดและมาออกฤทธิ์ที่มดลูก จึงทำให้มดลูกมีการบีบเกร็งตัวและเกิดอาการปวดที่บริเวณท้องน้อย การปวดประจำเดือนชนิดปฐมภูมินี้มักพบได้ในเด็กสาวหรือผู้หญิงวัยรุ่น ส่วนมากจะเริ่มมีอาการตั้งแต่เริ่มมีประจำเดือนครั้งแรก หรือไม่ก็เกิดขึ้นภายในช่วง 2-3 ปีหลังจากการมีประจำเดือนครั้งแรก โดยจะมีอาการมากที่สุดในช่วงอายุ 15-25 ปี หลังจากวัยนี้ไปอาการจะค่อย ๆ ลดลง บางรายอาจหายปวดหลังแต่งงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังการมีลูกแล้ว มีเพียงส่วนน้อยที่ยังอาจมีอาการตลอดไปจนถึงวัยหมดประจำเดือน
ปวดประจำเดือนชนิดทุติยภูมิ (Secondary dysmenorrhea) เป็นการปวดประจำเดือนที่แพทย์ตรวจพบพยาธิสภาพในอุ้งเชิงกรานร่วมด้วย ลักษณะการปวดจะมีอาการปวดก่อนมีเลือดประจำเดือนมาและยังปวดต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่าประจำเดือนจะหยุดหรือหลังประจำเดือนหยุด ผู้ป่วยจะมีอาการปวดครั้งแรกเมื่อมีอายุมากกว่า 25 ปีขึ้นไป โดยก่อนหน้านี้จะไม่เคยมีอาการปวดประจำเดือนเลย การปวดประจำเดือนชนิดทุติยภูมินี้ มักเกิดจากความผิดปกติของมดลูกหรือรังไข่ เช่น
การมีเนื้องอกมดลูก โดยเฉพาะในโพรงมดลูก มดลูกจึงมีการบีบตัวเพื่อขจัดสิ่งขัดขวางการหดรัดตัวในโพรงมดลูกออก จึงทำให้มีอาการปวดประจำเดือนมากขึ้นเรื่อย ๆ
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญขึ้นผิดที่ หรือ เยื่อบุโพรงมดลูกต่างที่ (Endometriosis) โดยเยื่อโพรงบุมดลูกจะหลุดออกมาจากท่อรังไข่ย้อนเข้ามาเจริญที่เยื่อบุช่องท้อง รังไข่ บริเวณอุ้งเชิงกราน หรือลำไส้ ซึ่งเซลล์เหล่านี้จะมีการตอบสนองต่อฮอร์โมนในร่างกายที่หลั่งออกมาจากรังไข่เช่นเดียวกับเยื่อบุโพรงมดลูก ดังนั้นในขณะที่มีประจำเดือนจะทำให้มีเลือดออกในช่องท้องด้วย จึงทำให้เกิดการระคายเคืองที่เยื่อบุช่องท้อง ส่งผลให้เกิดอาการปวดท้องในขณะที่มีประจำเดือน ซึ่งในรายที่มีอาการปวดประจำเดือนรุนแรงเป็นประจำ มักมาจากสาเหตุนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้หญิงที่มีบุตรยาก
การมีพังผืดในช่องท้อง (Pelvic adhesion) พังผืดเกิดจากการผ่าตัดครั้งก่อน หรือจากการที่เคยมีการอักเสบในอุ้งเชิงกรานมาก่อน (ที่ไม่ใช่จากเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญขึ้นผิดที่) จะทำให้เกิดการดึงรั้งของพังผืดกับเยื่อบุช่องท้องหรือเส้นประสาท ส่งผลให้เกิดอาการปวดขึ้นมา ส่วนมากผู้ป่วยมักมีอาการปวดท้องน้อยเรื้อรังมากกว่าที่จะปวดตามรอบของประจำเดือน
ถ่ายเป็นเลือด
HonestDocs
[url]https://www.honestdocs.co/stool-blood-signal[/url]
[url]http://www.honestdocs.co/sitemap[/url]
[
อ้างอิง
]
Re หัวข้อ :
รูปประกอบ :
จำกัดขนาด 100 kB
รายละเอียด :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ชื่อของท่าน :
แผนกวิชาพืชศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ
90 ถ.กสิกรรม ต.หนองครก อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ 33000
@2014-2015 under
GNU General Public License
Edit&Applied by
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ
Power by :
FreeBSD.org