[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by
MAXSITE 2.5.3
ยินดีต้อนรับคุณ
บุคคลทั่วไป
Select Language
English
Arabic
Bulgarian
Chinese (Simplified)
Chinese (Traditional)
Croatian
Czech
Danish
Dutch
Finnish
French
German
Greek
Hindi
Italian
Japanese
Korean
Norwegian
Polish
Portuguese
Romanian
Russian
Spanish
Swedish
Catalan
Filipino
Hebrew
Indonesian
Latvian
Lithuanian
Serbian
Slovak
Slovenian
Ukrainian
Vietnamese
Albanian
Estonian
Galician
Hungarian
Maltese
Thai
Turkish
ค้นหา
เมนูหลัก
หน้าแรก
ฝ่ายวิชาการ
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
หลักสูตรที่เปิดสอน
ทำเนียบบุคลากร
ประมวลภาพกิจกรรม
สมุดเยี่ยม
ปฏิทินกิจกรรม
ข่าวสาร/ประชาสัมพันธ์
สาระความรู้
โครงการ/งาน
กระดานข่าว
ดาวน์โหลด
ผลงานทางวิชาการ
contact
blog
video
Administrator
ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ]
|
[ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด
5
คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์
0
คน
ฝากข้อความ
ชื่อ :
ข้อความ
(ตัวแสดงอารมณ์)
poll
คุณคิดว่าเวปนี้เป็นอย่างไร
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
แย่
แย่มาก
ดูผลการ vote
เว็บบอร์ด
>>
ห้องนั่งเล่น
>>
mri คือ
VIEW : 853
โดย
ดร. ศิรพงศ์ รักต์เธียรธรรม
UID :
ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว
:
31
ตอบแล้ว
:
เพศ :
ระดับ : 4
Exp : 50%
เข้าระบบ :
ออฟไลน์ :
IP
:
171.96.190.
xxx
เมื่อ :
อาทิตย์ ที่ 29 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2560 เวลา 13:49:58
mri คือ
MRI Scan (เอ็มอาร์ไอ) เป็นเครื่องมือทางการแพทย์ที่ใช้คลื่นวิทยุร่วมกับคลื่นสนามแม่เหล็กแรงสูงในการถ่ายภาพเนื้อเยื่อ อวัยวะ และโครงสร้างอื่น ๆ ภายในร่างกาย เพื่อช่วยในการวินิจฉัย วางแผนการรักษา และติดตามผลในการรักษา
MRI Scan สามารถใช้ตรวจวินิจฉัยได้เกือบทุกส่วนของร่างกาย เช่น สมองและไขสันหลัง หน้าอก กระดูกและข้อต่อ หัวใจและหลอดเลือด ตับ มดลูก ต่อมลูกหมาก หรืออวัยวะภายในอื่น ๆ โดยภาพที่ถ่ายได้จะมีความคมชัดสูง ทำให้การถ่ายภาพอวัยวะบางส่วนได้ข้อมูลในการวินิจฉัยโรคได้แม่นยำกว่าวิธีอื่น เช่น เอกซเรย์ (X-ray) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) หรือซีที สแกน (Computed Tomography: CT Scan)
mri scan
ข้อบ่งชี้ในการตรวจ MRI Scan
MRI Scan เป็นวิธีในการตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะเกือบทั่วร่างกายที่ค่อนข้างแม่นยำ และมักจะใช้ยืนยันผลวินิจฉัยหลังจากการทดสอบอื่น ๆ ให้ข้อมูลได้ไม่เพียงพอ โดยการตรวจ MRI Scan ในแต่ละส่วนในร่างกายอาจมีจุดประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป เช่น
ศีรษะ เป็นการตรวจหาความผิดปกติของสมองและเส้นประสาทในสมองที่เชื่อมกับอวัยวะที่เกี่ยวข้อง เช่น เนื้องอกในสมอง เลือดออกในสมอง หลอดเลือดในสมองโป่งพอง การบาดเจ็บเส้นของประสาทเกี่ยวกับการมองเห็นและได้ยิน
หน้าอก เป็นการตรวจดูความผิดปกติบริเวณหน้าอกและหัวใจ เช่น การเต้นของหัวใจ ลิ้นหัวใจ หลอดเลือดหัวใจ ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับปอด ตรวจหามะเร็งเต้านม
หน้าท้องและกระดูกเชิงกราน เป็นการตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะและโครงสร้างอื่น ๆ ภายในช่องท้อง ไม่ว่าจะเป็น ตับ ถุงน้ำดี ตับอ่อน ไต กระเพาะปัสสาวะ รวมไปถึงเนื้องอก ภาวะเลือดออก การติดเชื้อ และการอุดตันในอวัยวะเหล่านั้น ส่วนในผู้หญิงก็สามารถใช้ตรวจดูมดลูกและรังไข่ ในผู้ชายก็ใช้ในการตรวจดูต่อมลูกหมาก
เส้นเลือด เป็นการตรวจดูเส้นเลือดและการไหลเวียนของเลือด (Magnetic Resonance Angiography: MRA) เพื่อช่วยค้นหาความผิดปกติของหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำ เช่น หลอดเลือดโป่งพอง การตีบแคบและการอุดตันของหลอดเลือด ภาวะเลือดเซาะผนังหลอดเลือดแดงใหญ่
ไขสันหลัง ตรวจเช็คหมอนกระดูกและเส้นประสาทไขสันหลังในบางสภาวะ เช่น โพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ หมอนรองกระดูกเคลื่อนตัว เนื้องอกของไขสันหลัง
กระดูกและข้อต่อ ตรวจดูความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับกระดูกและข้อต่อ เช่น ข้ออักเสบ ความผิดปกติข้อต่อขากรรไกร ไขกระดูกสันหลังมีปัญหา เนื้องอกกระดูก กระดูกอ่อน เส้นเอ็นฉีกขาดหรือเกิดการติดเชื้อ
ข้อห้ามหรือข้อจำกัดในการตรวจ MRI Scan
การตรวจ MRI Scan ต้องใช้คลื่นสนามแม่เหล็กแรงสูงในการทำงาน อุปกรณ์ที่เป็นโลหะอาจส่งผลให้เกิดอันตรายต่อร่างกายและข้อจำกัดบางประการที่ส่งผลต่อการตรวจที่ผิดพลาดขึ้น จึงทำให้ผู้เข้ารับการตรวจบางกลุ่มควรแจ้งข้อมูลส่วนตัวให้แพทย์ทราบก่อน เช่น
ผู้ที่ใส่เครื่องมือทางการแพทย์ที่ใช้ไฟฟ้าหรือทำมาจากโลหะ เช่น เครื่องกระตุ้นหัวใจ เครื่องควบคุมการให้สารละลายทางหลอดเลือด ประสาทหูเทียม อินซูลินปั๊ม เนื่องจากสนามแม่เหล็กอาจสร้างความเสียหายหรือความผิดปกติในการทำงานของเครื่อง
ผู้ที่มีการคุมกำเนิดด้วยการใส่ห่วงอนามัยที่มีโลหะเป็นส่วนประกอบ ควรแจ้งแพทย์ให้ทราบล่วงหน้า เพราะอาจมีผลต่อการแปลผลของภาพที่ได้
ผู้ที่ใส่รากฟันเทียมหรืออุดฟันที่วัสดุมีโลหะเป็นส่วนประกอบ
ผู้ที่มีสภาพร่างกายจำกัด ไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวหรืออยู่นิ่ง ๆ ในช่วงระยะเวลาหนึ่งได้ เช่น ผู้ป่วยกลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลัน เป็นโรคกระดูกสันหลังคดและงอ รวมไปถึงผู้ที่ภาวะอ้วน ซึ่งไม่สามารถนอนลงบนเครื่องได้
การสวมใส่โลหะต่าง ๆ ที่มีอยู่ตามร่างกายอย่างเครื่องประดับที่เป็นโลหะ หรือโลหะที่เป็นส่วนหนึ่งบนเสื้อผ้า เช่น ซิป
อย่างไรก็ตาม ในกรณีของหญิงตั้งครรภ์ สามารถเข้ารับการตรวจ MRI Scan ได้เป็นปกติ เนื่องจากไม่มีรังสีที่เป็นอันตราย แต่มีข้อควรระวัง คือ การฉีดสารหรือสีเข้าหลอดเลือดดำร่วมกับการตรวจ MRI Scan ที่อาจส่งผ่านรกไปสู่ทารกในครรภ์ได้ โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
mri คือ
HonestDocs
[url]https://www.honestdocs.co/what-is-mri[/url]
[url]http://www.honestdocs.co/sitemap[/url]
[
อ้างอิง
]
โดย
ดรดฟ55
UID :
ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว
:
ตอบแล้ว
:
2
ระดับ : 1
Exp : 100%
IP
:
209.97.168.
xxx
ความคิดเห็นที่ 1
เมื่อ 19 เม.ย. 2563 : 20:23
fifa55
[
อ้างอิง
]
1
Re หัวข้อ :
รูปประกอบ :
จำกัดขนาด 100 kB
รายละเอียด :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ชื่อของท่าน :
แผนกวิชาพืชศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ
90 ถ.กสิกรรม ต.หนองครก อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ 33000
@2014-2015 under
GNU General Public License
Edit&Applied by
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ
Power by :
FreeBSD.org