Sisaket College of Agriculture and Technology " The institute that can change your life. "

||สอศ||สำนักอำนวยการ||C-poor ||E-Office||บทเรียนออนไลน์||อ่านข่าว||ข่าวศรีเกษบ้านเรา||

วันเสาร์ที่ 20 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2567
Google Search   

เมนูหลัก
หน้าหลัก
ทำเนียบฝ่ายบริหาร
ทำเนียบผู้บริหาร วษท.ศก.
โครงสร้างการบริหารงาน
ตารางสอน
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
อัตลักษณ์ / เอกลักษณ์
ยุทธศาสตร์สถานศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 1

ยุทธศาสตร์ที่ 2

ยุทธศาสตร์ที่ 3

ยุทธศาสตร์ที่ 4

กรอบจัดทำแผน 2559

ข้อมูลสถานประกอบการ
สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์

ศิษย์เก่าเกษตรศรีฯ

ลงทะเบียนศิษย์เก่า

กระดานข่าวเกษตรศรี

ร้านค้าพันธุ์ไม้

KM เกษตรศรี

ข้อมูลพื้นฐาน 9 ด้าน

ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา
ข้อมูลนักศึกษา
ข้อมูลบุคลากร
ข้อมูลงบประมาณและการเงิน
ข้อมูลหลักสูตร
ข้อมูลครุภัณฑ์
ข้อมูลอาคารสถานที่
ข้อมูลตลาดแรงงาน
ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดศรีสะเกษ
ประวัติจังหวัดศรีสะเกษ
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลสถิติจังหวัด
โครงสร้างเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
แหล่งท่องเที่ยว
เทศกาลและงานประเพณี

หน่วยงานภายใน

ฝ่ายวิชาการ

แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์
แผนกวิชาสัตวศาสตร์
แผนกวิชาบริหารธุรกิจ
แผนกพืชศาสตร์
แผนกวิชาช่างกลเกษตร
แผนกวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
แผนกวิชาประมง

จังหวัดศรีสะเกษ

ศาลากลางจังหวัดศรีสะเกษ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด ศ.ก.
เทศบาลเมืองศรีสะเกษ
มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ
ศูนย์วิจัยพืชสวนศรีสะเกษ
สำนักงานแรงงานจังหวัด
สำนักงานประมงจังหวัด
สำนักงานพาณิชย์จังหวัด

ตลาดนัดแรงงานจังหวัด

สถานศึกษา

ว.เทคนิคศรีสะเกษ

ว.การอาชีพศรีสะเกษ

ว.เทคนิคกันทรลักษ
ว.การอาชีพขุนหาญ
ว.สารพัดช่างศรีสะเกษ
วทก.กันทรารมย์
วทก.ราษีไศล

โครงการร่วมต่างประเทศ
รร.พระราชทานกัมปงเชลเตียล
อาราวา ไทย-อิสราเอล
ฝึกงานไทย-เดนมาร์ก
โครงการอาสาสมัครเกาหลีฯ
ทวีภาคี-เบทาโกร
ทวีภาคีโคนม
โครงการแลกเปลี่ยนไนจีเรีย
สถิติเว็บไซด์
สถิติการเยี่ยมชม
วันนี้
16
เมื่อวานนี้
7
เดือนนี้
94
เดือนที่แล้ว
161
ปีนี้
1,016
ปีที่แล้ว
3,387

ตั้งแต่ 1 พ.ค. 2565

Link น่าสนใจ

 

ประวัติของสถานศึกษา

               เจ้าคุณเทศาภิบาลได้ปรารภกับรองอำมาตย์โทพระศรีวิชัยบริบาล(ข้าหลวงประจำจังหวัดศรีสะเกษ) ว่าในจังหวัดศรีสะเกษ ควรจะมีแหล่งศึกษาทางด้านการเกษตร เพื่อที่จะได้สั่งสอนอบรมบุตรหลานของเกษตรกรให้นำความรู้ใหม่ๆ ทางการเกษตรไปถ่ายทอดต่อบิดามารดา  หรือกับบรรดาเครือญาติที่มีอาชีพทางการเกษตรทั้งหลายอันจะเป็นการพัฒนาประเทศอีกทางหนึ่ง รองอำมาตย์โทพระศรีวิชัยบริบาล  จึงได้ประชุมนายอำเภอต่างๆ  ในจังหวัดศรีสะเกษ  ให้พิจารณาจัดตั้ง  “โรงเรียนประถมวิสามัญกสิกรรม”ขึ้น ต่อมาพระศรีพิชัยบริบาล (ข้าหลวงประจำจังหวัด) หลวงศักดิ์รัตนเขต  (นายอำเภอเมืองศรีสะเกษ) และขุนอักษรๆ (ธรรมการจังหวัด) พร้อมด้วยข้าราชการและประชาชนหลายคนได้ออกตรวจเลือกสถานที่ที่จะจัดตั้งโรงเรียนดังกล่าวข้นและได้เสนอสถานที่ที่จะตั้งไปยังสมุหเทศาภิบาล  

                   ต่อมา  สมุหเทศาภิบาลได้โปรดให้พระยาสิมาจารย์ธรรมการมณฑลและนายอ่ำ  อุ่นไทยมาพิจารณาบริเวณที่ข้าหลวงจังหวัด  ข้าราชการจังหวัด  และประชาชนเสนอไปเมื่อกลางปี  2473และได้กลับไปเสนอบริเวณที่จะจัดตั้งโรงเรียนขึ้น  โดยเห็นว่าบริเวณ  “ห้วยปูน” ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของตัวเมือง  ห่างจากตัวเมืองศรีสะเกษ  ประมาณ  1.5 กิโลเมตร  มีเนื้อที่ประมาณ2,000ไร่  มีลำห้วยปูน  ลำห้วยสำราญไหลผ่าน  บางส่วนของพื้นที่รกร้างว่างเปล่า  และทำเลเลี้ยงสัตว์  เป็นที่ราบลุ่มและที่ราบสูงเหมาะแก่การเกษตรและไม่ห่างจากตัวเมืองมากนัก  เป็นสถานที่เหมาะสมในการจัดตั้งโรงเรียน จึงให้ตั้งชื่อโรงเรียนชื่อ “โรงเรียนประถมวิสามัญกสิกรรม” ซึ่งเปิดทำการสอนเมื่อวันที่ 15  พฤษภาคม  2474  เปิดสอนตามหลักสูตรชั้นประถมปีที่  4  โดยมีนายทิม  หาญกล้า  เป็นครูใหญ่  รับเฉพาะนักเรียนชายประจำ  โดยทางจังหวัดคัดเลือกนักเรียนเข้าเรียนและให้ทุนการศึกษาทุกคน

การเปลี่ยนแปลงระดับการศึกษา

                  พ.ศ. 2474-2482  โรงเรียนประถมวิสามัญกสิกรรมห้วยปูน  เปิดสอนตามหลักสูตรชั้นประถมปีที่  4 พ.ศ. 2482  ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น  โรงเรียนกสิกรรมศรีสะเกษ  สังกัดกรมวิชาการ  กระทรวงศึกษาธิการ  รับนักเรียนจากผู้สำรวจการศึกษาชั้นประถมปีที่  4  เข้าเรียนหลักสูตร  2  ปี   เมื่อจบการศึกษาแล้วได้รับประกาศนียบัตร  ประโยคมัธยมอาชีวศึกษาตอนต้น  แผนกเกษตรกรรม

                  พ.ศ. 2494  เปิดสอนหลักสูตร  มัธยมศึกษาตอนปลาย  แผนกเกษตรกรรม  รับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น  หรือผู้สำเร็จมัธยมศึกษาปีที่  3  เข้าเรียนต่อเป็นเวลา 3  ปี  เมื่อสำเร็จแล้วจะได้รับ  ประกาศนียบัตรประโยคมัธยมอาชีวศึกษาตอนปลาย แผนกเกษตรกรรม  

                  พ.ศ. 2507  เปิดสอนหลักสูตร  มัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ  แผนกเกษตรกรรม  เทียบเท่าประโยคมัธยมศึกษาชั้นสูง  รับผู้สำเร็จมัธยมศึกษาตอนต้น  (ม. 6 เดิม) หรือผู้สำเร็จมัธยมศึกษาตอนต้นแผนกเกษตรกรรม  เข้าศึกษาเป็นเวลา  3  ปี  (ม.ศ. 4,5,6) สำเร็จแล้วได้รับประกาศนียบัตร   ประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ  แผนกเกษตรกรรม  

                 ในปีการศึกษา  2513  เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรการศึกษาเกษตร  (ปกศ.เกษตร)ขึ้นอีกระดับหนึ่งรับเฉพาะนักเรียนชายอยู่ประจำตามคำเร่งรัดครูฉุกเฉินของกรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย  รับผู้จบมัธยมศึกษาปีที่  3     (ม.ศ. 3) หลักสูตร  2  ปี

    ปีการศึกษา  2518-2523  มีการเปิดสอน ดังนี้

       1.  ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  หมวดวิชาประเภทวิชาเกษตรกรรม  หลักสูตร ม.ศ. 3 เข้าศึกษาเป็นเวลา  2  ปี

       2.  หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ  พ.ศ. 2520  หมวดวิชาประเภทวิชาเกษตรกรรม(ปวช. 2520) รับผู้จบระดับประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย หมวดวิชาชีพประเภทวิชาเกษตรกรรมและ ผู้จบระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโปรแกรมเกษตร(ม.ศ. 5 โปรแกรมเกษตร) เข้าศึกษาเป็นเวลา  1  ปี   

      3.  หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง  แผนกเกษตรกรรม  รับผู้จบหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพประเภทวิชาเกษตรกรรม  ศึกษาต่อเป็นเวลา  2  ปี

    เมื่อวันที่  1   ตุลาคม  พ.ศ.  2519  ได้รับการยกฐานะจาก  โรงเรียนเกษตรกรรมศรีสะเกษเป็น  วิทยาลัยเกษตรกรรมศรีสะเกษ  สังกัดกองวิทยาลัยเกษตรกรรม  กรมอาชีวศึกษา  กระทรวงศึกษาธิการ

    ปีการศึกษา  2523-2526  เปิดสอน  4  หลักสูตร  คือ

     1.  หลักสูตร  ปวช. 2524  รับผู้ที่จบ  ม. 3  หรือเทียบเท่าเข้าศึกษาต่อเป็นเวลา  3  ปี

     2.  หลักสูตร  ปวช. 2525  รับผู้ที่จบ ปวช. หรือ ม.ศ. 5 ประเภทวิชาชีพเกษตรกรรมเข้าศึกษาต่อเป็นเวลา  2  ปี

     3.  หลักสูตร  ปวช. 2520  รับผู้ที่จบ ม.ศ. 5 เข้าศึกษาต่อเป็นเวลา  1  ปี

     4.  หลักสูตร  ปวช. 2524  (พิเศษ) รับผู้ที่จบ  ม.ศ.5 เข้าศึกษาต่อเป็นเวลา  1  ปี

    ปีการศึกษา  2527  เปิดสอน  5  หลักสูตร คือ

      1.  หลักสูตร  ปวช. 2524  

      2.  หลักสูตร  ปวส. 2525

      3.  หลักสูตร  ปวส. 2527  

      4.  หลักสูตร  โครงการอาชีวศึกษาเพื่อแก้ปัญหาความยากจนในชนบท  (อศ.กช.)

      5.  หลักสูตร  ปวท. 2527  สาขาวิชาพืชไร่-นา  สาขาวิชาโคเนื้อและกระบือ  สาขาวิชาสวนประดับ  สาขาวิชาสัตว์ปีก  และสาขาวิชาสัตว์เล็ก

              ตั้งแต่ปีการศึกษา  2536  เป็นต้นมา  วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ  ได้รับการอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการ  ให้เปิดสอน  หลักสูตรระดับ  ปวส.  สาขาวิชาการบัญชี  สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ  สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์  และสาขาวิชาอุตสาหกรรมการเกษตรเพิ่มขึ้นโดยรับนักเรียนที่จบชั้น  ม.  6  จากโรงเรียนมัธยมสามัญ  เรียนต่อหลักสูตร  2  ปี  นอกจากนั้นยังเปิดสอนในหลักสูตร  ปวช.  ช่างยนต์  ตามโครงการวิทยาลัยชุมชน

              ตั้งแต่ปีการศึกษา  2537  ได้จัดตั้งวิทยาลัยชุมชนในวิทยาลัยเกษตรกรรมศรีสะเกษ  ชิ่อ  วิทยาลัยชุมชนศรีนครลำดวน

                วันที่  1   ตุลาคม  พ.ศ.  2539  ได้เปลี่ยนชื่อเป็น  วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ  สังกัดกองวิทยาลัยเกษตรกรรม  กรมอาชีวศึกษา  กระทรวงศึกษาธิการ

    เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการ  ได้ปฏิรูประบบบริหารราชการ  เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ  พ.ศ.  2542  (แก้ไขปรับปรุง  พ.ศ.  2545) จึงได้เปลี่ยนสังกัดจากกรมอาชีวศึกษาเป็นสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  6  สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา  กระทรวงศึกษาธิการ  ตั้งแต่  7  กรกฎาคม  2546  เป็นต้นมา และตั้งแต่  พ.ศ.  2545  จนถึงปัจจุบัน  มี ดร.โสภา มะเครือสี เป็นผู้อำนวยการสถานศึกษาคนปัจจุบัน

ที่ตั้ง

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ  

ตั้งอยู่เลขที่  91  หมู่  8  ตำบลหนองครก อำเภอเมือง  จังหวัดศรีสะเกษ  33000  



แผนที่

 


พิกัดดาวเทียม : 15.10706007456676, 104.31177760149374



 

       

ดร.โสภา มะเครือสี
ผู้อำนวยการ
งานทะเบียน
ตรวจสอบผลการเรียน
รายชื่อนักศึกษา 2562

รายงานข้อมูล

รายงานการปฏิบัติงานประจำปี
รายงานการปฏิบัติงานฟาร์มประจำเดือน
รายงานการปฏิบัติงานประจำเดือน

หลักสูตรปริญญาตรี (ทลบ.)

ข้อมูลหลักสูตร (ทลบ.) ต่อเนื่อง
กรรมการหลักสูตร
คณะผู้สอน
ปฏิทินการศึกษา 2560
รายชื่อนักศึกษา 2559
บทเรียนออนไลน์
 บทเรียนออนไลน์(เก่า)
 บทเรียนออนไลน์

เว็บไซต์ครู

เว็บไซด์ผลงานนักศึกษา
ระบบออนไลน์

ระบบบริหารงานวิทยาลัย

ระบบงานบุคลากร วษท.ศก
ศิษย์เก่าเกษตรศรีฯ
เสวนา & ผู้อำนวยการ
ร้านค้าพันธุ์ไม้
KM เกษตรศรี

E-learning

เรียนผสมเทียมออนไลน์
จุฬาออนไลน์
NECTEC
thaiwbi
e-learning วษท.ชัยภูมิ
e-learning Krudet.com
e-learning วษท.เชียงราย
e-learning วษท,นครราชสีมา
school net !!!
วัดผลดอทคอม

ห้องสมุด

ห้องสมุด online
AIT
วิทยานิพนธ์ไทย
ห้องสมุด ม.ขอนแก่น
ห้องสมุด ม.มหาสารคาม
ห้องสมุด ม.เชียงใหม่
ห้องสมุด ม.จุฬาฯ
ห้องสมุด ม.ธรรมศาสตร์
ห้องสมุด ม.เกษตรศาสตร์
ห้องสมุด ม.ราชภัฎพิบูลสงคราม

จัดหางาน

กรมการจัดหางาน
สมัครงาน
สมัครงานกับ Jobthai
หางานกับJob Thai Web

การศึกษา

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ
Sisaket College of Agriculture and Technology
 90 ต.หนองครก อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ  33000   โทร. 045-612934 Fax 045-613438
E-mail :  sskcat@sskcat.ac.th   
 Webmaster::  prajak.n@sskcat.ac.th